แชร์

การดื่มเกิดจากปัญหาเชิงโครงสร้างที่กดทับ และทัศนคติของชายเป็นใหญ่

อัพเดทล่าสุด: 13 มิ.ย. 2024
143 ผู้เข้าชม

(เผยแพร่บทความเมื่อ 2 มิถุนายน 2564)

ปัญหาของการดื่มเหล้าหากมองให้หลากหลายมิติ จะพบว่าแท้จริงแล้วการดื่มเกิดจากปัญหาเชิงโครงสร้างที่กดทับและทัศนคติของระบบชายเป็นใหญ่ ซึ่ง “เหล้า” ก็กลายเป็นอีกหนึ่งเครื่องหมายที่แสดงออกของชายเป็นใหญ่ ผู้ชายหลายคนมักจะมีความคิดทำนองว่า “โตแล้วต้องดื่มเหล้าเป็น ดื่มแล้วจะกล้าแสดงออก มีความเป็นผู้ใหญ่มากขึ้น ดื่มเยอะไม่เมาแล้วดูเท่” เช่นเดียวกับที่คุณจะเด็จ เชาวน์วิไล ผู้อำนวยการมูลนิธิหญิงชายก้าวไกล ได้อธิบายไว้

“เหล้าคือสัญญะของชายเป็นใหญ่ ดื่มแล้วจะเป็นแมน แสดงความเป็นชาย มีอำนาจ มีเพื่อนฝูง แสดงออกถึงความกล้า เช่น ไปทะเลาะกับคนอื่น อะไรที่ไม่กล้าทำก็จะทำ และผู้ชายที่ดื่มจะรู้ว่าตัวเองมีอำนาจเหนือครอบครัว ภรรยาจะมายุ่งไม่ได้ เพราะเป็นพื้นที่ของเขากับเพื่อน ๆ ถ้ามายุ่งจะมีความโกรธ เมื่อภรรยาเตือนหรือแนะนำไม่ให้ดื่ม จะนำไปสู่การทะเลาะ มีปากเสียงถึงขั้นทำร้ายร่างกาย”

แต่นั่นไม่ได้หมายความว่าปัญหาเรื่องเหล้าจะไม่สามารถถอดรื้อหรือเปลี่ยนแปลงได้

ปัญหาจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัญหาที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่อาจต้องใช้เวลานานเพราะการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาช่วยเหลือในการปรับทัศนคติ ปรับความคิด มุมมอง และให้ความรู้เกี่ยวกับระบบชายเป็นใหญ่ในสังคม รวมถึงวิธีการดำเนินงานต่าง ๆ นอกจากนี้จะต้องรณรงค์เรื่องความสำคัญของความเป็นธรรมในสังคมในหลายมิติ ยกตัวอย่างเช่น ปัญหาความยากจน การสร้างอาชีพที่มั่นคง จ้างงานที่เป็นธรรม สิ่งแวดล้อม รวมถึงความมั่งคงทางอาหารด้วย

เรียบเรียงจาก เสวนาออนไลน์ "โควิด-19 วงเหล้า และความรุนแรงในครอบครัว วงจรที่ไม่เปลี่ยน" วันที่ 26 พฤษภาคม 2564

< รับชมย้อนหลังได้ที่นี่ >

......


บทความที่เกี่ยวข้อง
บทสัมภาษณ์ คุณอังคณา อินทสา หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศ มูลนิธิหญิงชายก้าวไกล ในงานกิจกรรมรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อสตรีและเด็ก ประจำปี 2567 ซึ่งตรงกับวันที่ 25 พ.ย. ของทุกปี “Bring Back 2nd Chance of Life” คืนโอกาสดีๆ ให้ตัวเอง และเลิกให้โอกาสท
บทสัมภาษณ์ คุณอังคณา อินทสา หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศ มูลนิธิหญิงชายก้าวไกล ในงานกิจกรรมรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อสตรีและเด็ก ประจำปี 2567 ซึ่งตรงกับวันที่ 25 พ.ย. ของทุกปี “Bring Back 2nd Chance of Life” คืนโอกาสดีๆ ให้ตัวเอง และเลิกให้โอกาสที่ 2 กับความรุนแรง
17 ธ.ค. 2024
บทสัมภาษณ์ คุณทสร บุณยเนตร (Chief Creative officer) ผู้แทน บริษัท บีบีดีโอ กรุงเทพ จำกัด ในงานกิจกรรมรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อสตรีและเด็ก ประจำปี 2567 ซึ่งตรงกับวันที่ 25 พ.ย. ของทุกปี “Bring Back 2nd Chance of Life” คืนโอกาสดีๆ ให้ตัวเอง และเลิกให้โอกาสที่
บทสัมภาษณ์ คุณทสร บุณยเนตร (Chief Creative officer) ผู้แทน บริษัท บีบีดีโอ กรุงเทพ จำกัด ในงานกิจกรรมรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อสตรีและเด็ก ประจำปี 2567 ซึ่งตรงกับวันที่ 25 พ.ย. ของทุกปี “Bring Back 2nd Chance of Life” คืนโอกาสดีๆ ให้ตัวเอง และเลิกให้โอกาสที่ 2 กับความรุนแรง
17 ธ.ค. 2024
บทสัมภาษณ์ คุณชนกนันท์ ปรีดาเจริญ หรือ มินนี่ ญาติผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในคู่รัก ในงานกิจกรรมรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อสตรีและเด็ก ประจำปี 2567 ซึ่งตรงกับวันที่ 25 พ.ย. ของทุกปี “Bring Back 2nd Chance of Life” คืนโอกาสดีๆ ให้ตัวเอง และเลิกให้โอกาสที่
บทสัมภาษณ์ คุณชนกนันท์ ปรีดาเจริญ หรือ มินนี่ ญาติผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในคู่รัก ในงานกิจกรรมรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อสตรีและเด็ก ประจำปี 2567 ซึ่งตรงกับวันที่ 25 พ.ย. ของทุกปี “Bring Back 2nd Chance of Life” คืนโอกาสดีๆ ให้ตัวเอง และเลิกให้โอกาสที่ 2 กับความรุนแรง
17 ธ.ค. 2024
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ
Powered By MakeWebEasy Logo MakeWebEasy